การอ่านค่าตัวต้านทานแบบแถบสี สามารถดูได้จากตาราง ซึ่งสามารถอ่านได้ทั้งแบบ 4 แถบสีและแบบ 5แถบสี (ถ้าอ่านแบบ 4 แถบสีเราจะข้ามแถวที่ 3 ไป)
หน่วยของความต้านทาน ( Unit of Resistance)
1,000โอห์ม เท่ากับ 1 กิโลโอห์ม ( Kilo Ohm )
การอ่านค่าโค้ดสีแบบ 3 หรือ 4 แถบสีจะมีลักษณะของการอ่านที่เหมือนกัน ดังแสดงรายละเอียดการอ่านดังรูป โดยปกติจะเริ่มอ่านค่าแถบสีที่อยู่ชิดปลายข้างใดข้างหนึ่งของตัวต้านทานก่อน
วิธีการอ่านค่าโค้ดสี
-แถบที่ 2 คือ ตัวเลขตัวตั้งที่ 2
-แถบที่ 4 คือ สีที่บอกถึงเปอร์เซนต์ค่าความคลาดเคลื่อนของค่าความต้านทาน (%)
การอ่านค่าโค้ดสีแบบ 3 แถบสี
อ่านค่าได้ค่าความต้านทาน = 330 โอห์ม +_20%การอ่านค่าความต้านทานแบบ 4 แถบสี
วิธีการอ่านดังนี้
แถบที่1 จะเป็นตั้งตั้ง หลักที่1
แถบที่2 จะเป็นตั้งตั้ง หลักที่2
แถบที่3 จะเป็นตัวคูณ
แถบที่4 จะเป็นเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาด
ตัวอย่างที่ แถบสี แดง ดำ น้ำตาล ทอง
แดง ดำ น้ำตาล ทอง
2 0 x10 + 5 %
อ่านได้ 200 โอห์ม ค่าความผิดพลาด + 5 %
การอ่านค่าโค้ดสีแบบ 4 แถบสี
อ่านได้ค่าความต้านทาน = 330 โอห์ม +_ 5%การอ่านค่าความต้านทานแบบ 5 แถบสี
วิธีการอ่านดังนี้แถบที่1 จะเป็นตั้งตั้ง หลักที่1
แถบที่2 จะเป็นตั้งตั้ง หลักที่2
แถบที่3 จะเป็นตั้งตั้ง หลักที่3
แถบที่4 จะเป็นตัวคูณ
แถบที่5 จะเป็นเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาด
แดง ดำ น้ำตาล แดง แดง
2 0 1 x100 + 2 %
อ่านได้ 20100 โอห์ม หรือ 20.1 กิโลโอห์ม ค่าความผิดพลาด + 2 %
แหล่งอ้างอิง
การอ่านค่าความต้านทาน. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก:http://www.kkw.ac.th/kkwweb/teacherhead/elec/web%20electric/page17-19.htm